เรียน ผู้มีอุปการคุณ หมอชาวบ้านแจ้งเปลี่ยนหมายเลขโทรศัพท์พื้นฐานสำหรับติดต่อสำนักงานใหม่ ดังนี้
โทรศัพท์พื้นฐาน : 02-278-5533 | 02-278-1616 | 02-278-1636 | 02-278-0481
โทรศัพท์มือถือ : 086-9920-875 (จันทร์ - ศุกร์ 8.30 - 17.00 น.)
ก่อกำเนิด "หมอชาวบ้าน"
"กำภูซัก-อาจารย์ศักดิ์ตอบ"
รับข้อมูลข่าวสาร
ต้องการรับข้อมูลข่าวสารจากสำนักพิมพ์ฯ
รายการจัดส่งแล้ว 
นางสาวรัศมี... |
EF266010406TH |
บุษบา... |
ED838030091TH |
นายปฐมพงษ์... |
EF266010370TH |
วีรพงศ์... |
EF266010352TH |
สุภัชญา... |
RK067894212TH |
ภูวฤทธิ์... |
RK067894067TH |
สุปราณี... |
EF266010295TH |
ชำนาญวิทย์... |
EF266010278TH |
พภัสสรณ์... |
EF266010264TH |
วราภรณ์... |
EF266010255TH |
จณา... |
RK067893910TH |
นายแพทย์อำพล... |
EF266010220TH |
สิริพร... |
RK067893614TH |
อาคิรา... |
EF266010233TH |
ณัฏฐา... |
RK067893075TH |
ตัวอย่าง
|
|
|
ชื่อสินค้า |
ทฤษฎีแพทย์จีน |
ชื่อผู้แต่ง |
โดย วิทิต วัณนาวิบูล และคณะ |
เนื้อหา |
สารบัญเรื่อง
ความเป็นมา
รายการรูป
รายการตาราง
บทนำ
บทที่1.ยิน-หยาง
-ลักษณะของยิน-หยาง
-ความสัมพันธ์ระหว่างยิน-หยาง
-การเกิด การสลาย และการเปลี่ยนแปลงของยิน-หยาง
-ความสมดุลของ ยิน-หยาง
บทที่2.ปัญจธาตุ
-ลักษณะของปัญจธาตุ(ธาตุทั้ง 5)
-ความสัมพันธ์ระหว่างปัญจธาตุ
1.การสร้าง
2.การข่ม
3.การข่มเกินและการข่มกลับ
บทที่3.อวัยวะภายใน
-อวัยวะภายในทั้ง 5
1.หัวใจ
2.ปอด
3.ม้าม
4.ตับ
5.ไต
-อวัยวะกลวงทั้ง 6
1.กระเพาะอาหาร
2.ถุงน้ำดี
3.ลำไส้ใหญ่
4.ลำไส้เล็ก
5.กระเพาะปัสสาวะ
6.ซานเจียว
บทที่4.พลัง
-การเกิดพลัง
-การไหลเวียนของพลัง
-อิทธิพลของพลังต่อเลือดและอวัยวะต่างๆ
บทที่5.เลือด
บทที่6.เส้นลมปราณ
-การจำแนกเส้นลมปราณ
1.เส้นลมปราณปกติ 12 เส้น
2.เส้นลมปราณพิเศษ 8 เส้น
-การแผ่กระจายและทางเดินของเส้นลมปราณ
1.เส้นลมปราณปอด
2.เส้นลมปราณลำไส้ใหญ่
3.เส้นลมปราณกระเพาะอาหาร
4.เส้นลมปราณม้าม
5.เส้นลมปราณหัวใจ
6.เส้นลมปราณลำไส้เล็ก
7.เส้นลมปราณกระเพาะปัสสาวะ
8.เส้นลมปราณไต
9.เส้นลมปราณถุงหุ้มหัวใจ
10.เส้นลมปราณซานเจียว
11.เส้นลมปราณถุงน้ำดี
12.เส้นลมปราณตับ
13.เส้นตู๋ม่าย
14.เส้นเยิ่นม่าย
15.เส้นชงม่าย
16.เส้นไต้ม่าย
17.เส้นยินเหวยม่าย
18.เส้นหยางเหว่ยม่าย
19.เส้นยินเซียวม่าย
-ประโยชน์ของเส้นลมปราณ
1.ในทางสรีรวิทยา
2.ในทางพยาธิวิทยา
3.ในทางวินิจฉัยโรค
4.ในทางรักษา
บทที่7.เหตุแห่งโรค
-สามเหตุทั้ง 3 ที่ก่อให้เกิดโรค
1.สาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
-ลม
-เย็น
-ชื้น
-แห้ง
-ร้อน
-ไฟ
2.สาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงของจิตใจและอารมณ์
3.สาเหตุจากสุขนิสัยและอื่นๆ
บทที่8.วิธีตรวจโรคทั้ง 4
1.การมองดู
-การสังเกตุแววตา สีของหน้าและอารมณ์
-การสังเกตุรูปร่างลักษณะภายนอก
-ดูลิ้นและฝ้าบนลิ้น
2.การฟัง-สูดดม
-การฟังเสียง
-การดมกลิ่น
3.การถาม
-เย็น-ร้อน
-เหงื่อ
-หัวและตัว
-หน้าอก ท้อง และสีข้าง
-ความรู้สึกต่อรสชาติ
-อุจจาระและปัสสาวะ
-สตรี
-เด็ก
4.การแมะหรือการจับชีพจรและการคลำ
-ตำแหน่งและวิธีการแมะ
-ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการหายใจและการเต้นของชีพจร
-ชีพจรปกติและชีพจรของผู้ป่วย
-ข้อควรระวัง
การคลำ
บทที่9.การวิเคราะห์โรคจากหลัก ทั้ง 8
-ยิน-หยาง
-นอก-ใน
-เย็น-ร้อน
-พร่อง-แกร่ง
บทที่10.การวิเคราะห์โรคจากอวัยวะภายในทั้ง 5 และอวัยวะกลวงทั้ง 6
หัวใจ>br>
1.ไฟหัวใจมากเกิน
2.พลังหัวใจไม่พอ
3.เลือดหัวใจไม่พอ
4.หัวใจหยางพร่อง
5.หัวใจยินพร่อง
6.ร้อนเข้าถุงหุ้มหัวใจ
7.เลือดหัวใจอุดกั้น
ตับ
1.ตับไม่ระบายทำให้พลังสะดุด
2.พลังตับรุกรานกระเพาะอาหาร
3.ตับ-ม้าม ไม่สมดุลกัน
4.ตับและถุงน้ำดี ร้อนชื้น
5.ไฟตับขึ้นบน
6.ตับหยางมากเกิน
7.ตับยินและไตยินพร่อง
8.ลมตับภายใน
ม้าม
1.พลังม้ามพร่อง
2.ม้ามหยางพร่องและหย่อนสมรรถภาพ
3.จงชี่ย้อนลงล่าง
4.ม้ามไม่ควบคุมเลือด
5.ชื้นรบกวนม้ามหยางและชื้นขัดขวางม้าม-กระเพาะอาหาร
6.ม้ามและกระเพาะอาหารร้อนชื้น
7.อาหารค้างในกระเพาะอาหาร
ปอด
1.พลังปอดพร่อง
2.ปอดยินพร่อง
3.ปอดร้อนทำให้ไอ
4.ปอดเย็นทำให้ไอ
5.ม้ามและปอดพร่องพร้อมกัน
6.ลำไส้ใหญ่ร้อนชื้น
ไต
1.ไตหยางไม่พอหรือไตหยางพร่อง
2.ไตยินไม่พอ
3.กระเพาะปัสสาวะร้อนชื้น
พลัง
1.พลังพร่อง
2.พลังสะดุด
3.พลังย้อนกลับ
เลือด
1.เลือดพร่อง
2.เลือดออก
3.เลือดจับเป็นก้อน
บทที่11.การวิเคราะห์โรคจากเส้นทั้ง 6
-โรคไท่หยาง
-โรคหยางหมิง
-โรคซ่าวหยาง
-โรคไท่ยิน
-โรคซ่างยิน
-โรคเจี๋ยยิน
-กฏเกณฑ์การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของโรคเส้นทั้ง 6
-โรคร่วม
-โรคแทรก
บทที่12.การวิเคราะห์โรคจากความต้านทานพลัง สารจำเป็นและเลือด
1.อาการของโรคเมื่อความต้านทานระดับผิวถูกรุกราน
2.อาการของโรคเมื่อระดับพลังถูกรุกราน
3.อาการของโรคเมื่อระดับสารจำเป็นและเลือดถูกรุกราน
บทที่13.หลักพื้นฐานในการรักษาโรค
1.การรักษาเมื่อยังไม่เป็นโรค
2.การพยุงปัจจัยภายใน-ขจัดปัจจัยภายนอก
3.การรักษาทั่วร่างกาย..ทัศนะองค์รวม
4.การรักษาทั้งเปลือกและแก่น
5.การรักษาแบบขัดแย้งและการรักษาแบบไม่ขัดแย้ง
6.การพิจารณาถึงปัจจัยด้านตัวผู้ป่วยฤดูกาลและภูมิประเทศ
7.โรคเดียวกันใช้วิธีต่างกัน โรคต่างกันใช้วิธีเดียวกัน
บรรณานุกรม
ดัชนีคำ
|
รายละเอียด |
ทฤษฎีการอธิบายความเจ็บป่วยของศาสตร์แพทย์จีน จะใช้หลัก ยิน-หยาง มาอธิบายการเกิดความเจ็บป่วย ซึ่งมีมานานกว่าพันปี เหมาะกับผู้ที่กำลังศึกษาแพทย์แผนจีน ซึ่งต้องเรียนรู้เข้าใจ ทฤษฎีของแพทย์จีนให้ถ่องแท้กับภูมิปัญญาการแพทย์ตะวันออก
ตำราแพทย์ของจีนที่กล่าวถึงทฤษฎีด้านกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา พยาธิวิทยา และเภสัชวิทยา ซึ่งแตกต่างไปจากแพทย์แผนตะวันตก (การแพทย์แผนปัจจุบันหรือการแพทย์สมัยใหม่) โดยสิ้นเชิง เนื่องมาจากพื้นฐานที่ต่างกัน ในเนื้อหาแต่ละบทจะมีตารางและภาพประกอบมากมาย จึงเหมาะกับผู้ที่จะศึกษาการแพทย์แผนจีน |
ราคาปก |
170.00 บาท
|
ลดเหลือ |
120.00 บาท |
|
|